ภาษาโปรเเกรมคอมพิวเตอร์มีวิวัฒนาการมายาวนาน นับตั้งเเต่การสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาเครื่องที่ประกอบด้วยเลข 0 เเละ 1 ในยุครอบเเรกของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเขียนโปรเเกรมขนาดใหญ่เนื่องด้วยความยากของการเขียนโปรเเกรม จนมาถึงปัจจุบันที่ภาษาโปรเเกรมคอมพิวเตอร์มีความคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ ทำให้การเขียนโปรเเกรมขนาดใหญ่ทำได้รวดเร็วเเละมีความผิดพลาดน้อยลงเเต่เนื่องจากคอมพิวเตอร์ยังต้องทำงานตามคำสั่งภาษาเครื่อง เมื่อเราเขียนโปรเเกรมจึงต้องมีการให้เเปลเป็นภาษาเครื่องก่อน
ตัวเเปลภาษาโปรเเกรมมี 2 ประเภท คือ
1. คอมไพเลอร์ (compiler) จะเเปลโปรเเกรมทั้งโปรเเกรมให้ถูกต้อง จึงจะได้ผลลัพธ์เป็นโปรเเกรม ภาษาเครื่องที่นำไปสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ภาษาที่ต้องเเเปลด้วยคอมไพเลอร์ เช่น C,C++,Java
2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) จะเเปลคำสั่งในโปรเเกรมทีละคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง ส่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานทันทีโดยไม่ต้องรอให้เเปลเสร็จทั้งโปรเเกรม เช่น Python,Logo
วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
การกำหนดค่าให้ตัวเเปร
การกำหนดค่าอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับตัวเเปรสามารถทำได้3วิธี คือ
oการรับค่าจากภายนอก
oการกำหนดค่าคงที่หรรือตัวเเปรอื่นๆ
oการกำหนดค่าจากการคำนวณ
สัญลักษณ์ที่นิยมใช้สำหรับค่าตัวเเปรให้กับตัวเเปร คือ ← ใช้เพื่อนำค่าทางขวาของ ← ไปกำหนดให้กับตัวเเปรทางด้านซ้ายของ ←
การตั้งชื่อตัวเเปรควรตั้งให้เหมาะสมกับค่าที่เก็บไว้ในตัวเเปร เช่น ตัวเเปร name เก็บข้อมูลชื่อ,ชื่อเเปร age เก็บข้อมูลอายุ
x ← 2 นำค่า 2 ไปใส่ในตัวเเปร x
oการรับค่าจากภายนอก
oการกำหนดค่าคงที่หรรือตัวเเปรอื่นๆ
oการกำหนดค่าจากการคำนวณ
สัญลักษณ์ที่นิยมใช้สำหรับค่าตัวเเปรให้กับตัวเเปร คือ ← ใช้เพื่อนำค่าทางขวาของ ← ไปกำหนดให้กับตัวเเปรทางด้านซ้ายของ ←
การตั้งชื่อตัวเเปรควรตั้งให้เหมาะสมกับค่าที่เก็บไว้ในตัวเเปร เช่น ตัวเเปร name เก็บข้อมูลชื่อ,ชื่อเเปร age เก็บข้อมูลอายุ
x ← 2 นำค่า 2 ไปใส่ในตัวเเปร x
วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ผังงาน
2.2.2ผังงาน
ผังงานเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการวางแผนหรือออกเเบบการเเก้ปัญหาเพื่อให้สามารถนำไปปฏิบัติตามหรือเขียนโปรเเกรมที่สั่งให้เครื่องคอมพิงเตอร์ทำงานได้ง่าย สถาบันมาตรฐานเเห่งชาติอเมริกา (The American National Institute :ANSI)ได้กำหนดสัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานในการเขียนผังงานไว้ ซึ่งในที่นี้จะเเนะนำการใช้งาน 5 สัญลักษณ์พื้นฐาน
ผังงานเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการวางแผนหรือออกเเบบการเเก้ปัญหาเพื่อให้สามารถนำไปปฏิบัติตามหรือเขียนโปรเเกรมที่สั่งให้เครื่องคอมพิงเตอร์ทำงานได้ง่าย สถาบันมาตรฐานเเห่งชาติอเมริกา (The American National Institute :ANSI)ได้กำหนดสัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานในการเขียนผังงานไว้ ซึ่งในที่นี้จะเเนะนำการใช้งาน 5 สัญลักษณ์พื้นฐาน
คำถามชวนคิดหน้า29
ให้นักเรียนจัดเรียงการทำงานต่อไปนี้ เพื่อคำนวณค่าน้ำมันในการเดินทางระยะทางที่กำหนด
1รับระยะทางในการเดินทาง
2รับปริมาณน้ำมันต่อระยะทาง
3รับราคาน้ำมัน
4เเสดงค่าน้ำมันที่ต้องการใช้
1รับระยะทางในการเดินทาง
2รับปริมาณน้ำมันต่อระยะทาง
3รับราคาน้ำมัน
4เเสดงค่าน้ำมันที่ต้องการใช้
2.2การเขียนรหัสลำลองเเละผังงาน
2.2.1การเขียนรหัสลำลอง หมายถึง การเขียนรหัสลำลองเป็นการใช้คำบรรยายอธิบายขั้นตอนอย่างชัดเจนในการเเก้ปัญหาหรือการทำงานของโปรเเกรมซึ่งรูปเเบจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ เเละความถนัดของผู้เขียน โดยอาจเขียนเปฺ็นภาษาพูด ทำให้เขียนง่ายไม่ต้องกังวลรูปเเบบ
การเขียนรัหสลำลอง เรื่อง การเเต่งกายชุดนักเรียน
เริ่มต้น
1ใส่กางเกงใน
2ใส่ถุงเท้า
3ใส่เสื้อ
4ใส่กางเกง
5ใส่เข็มขัด
6ใส่รองเท้า
การเขียนรัหสลำลอง เรื่อง การเเต่งกายชุดนักเรียน
เริ่มต้น
1ใส่กางเกงใน
2ใส่ถุงเท้า
3ใส่เสื้อ
4ใส่กางเกง
5ใส่เข็มขัด
6ใส่รองเท้า
วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ตัวอย่างขั้ยตอนการเเก้ปัญหา
1การวิเคราะห์เเละกำหนดรายละเอียดของปัญหา เป็นการทำความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียด เงื่อนไข ข้อกำหนด รวมถึงข้อจำกัดต่างๆของปัญหา ข้อมูลที่จำเป็นในการเเก้ปัญหา ตรวจสอบว่ามีข้อมูลเพียงพอหรือไม่ จะหาข้อมูลเพิ่มเติมให้ครบถ้วนต่อการใช้เเก้ปัญหาได้อย่างไร ข้อมูลผลลัพธ์ที่ได้คืออะไร เเละจะตรวจสอบความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้อย่างไร
2การวางเเผนการเเก้ปัญหา เป็นการคิดค้นกระบวนการต่างๆที่เป็นขั้นตอน ตั้งเเต่เริ่มต้นจนกระทังได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์์เเละความรู้ของผู็เเก้ปัญหาโดยอาจนำวิธีที่เคยเเก้ปัญหา หรือค้นคว้าวิธีการอื่นๆเเล้วนำมาประยุกต์เข้ากับปัญหาที่กำลังเเก้ไข เครื่องมือที่ใช้ในการวางเเผนเเก้ปัญหา สำหรับการพัฒนาโปรเเกรม อาจเลือกใช้รหัสลำลอง หรือผังงาน โดยวิธีการเเก้ปัญหาที่ได้เรียกว่า ขั้นตอนวิธีการหรืออัลกอริทึม (algorithm) ซึ่งเป็นลำดับขั้นตอนในการเเก้ปัญหาหรือการทำงานที่ชัดเจนตั้งเเต่เริ่มต้นเเก้ปัญหา จนกระทั่งได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
3การดำเนินการเเก้ปัญหา เป็นการนำกระบวนการที่ได้วางเเผนไว้มาปฏิบัติ หรือพัฒนาโปรเเกรมเพื่อเเก้ปัญหา โยอาจใช้ภาษาโปรเเกรมช่วยในการดำเนินการ
4การตรวจสอบเเละประเมินผล ขั้นตอนนี้จะทำควบคู่ไปกับขั้นตอนการเเก้ปัญหา โดยการตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้ หากผลลัพธ์ที่ได้ไม่ถูกต้อง หรือยังมีส่วนที่ต้องเเก้ไขปรับปรุงอยู่ ต้องย้อนกลับไปทำซ้ำตั้งเเต่ขั้ันตอนเเรกจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ถุกต้อง
2การวางเเผนการเเก้ปัญหา เป็นการคิดค้นกระบวนการต่างๆที่เป็นขั้นตอน ตั้งเเต่เริ่มต้นจนกระทังได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์์เเละความรู้ของผู็เเก้ปัญหาโดยอาจนำวิธีที่เคยเเก้ปัญหา หรือค้นคว้าวิธีการอื่นๆเเล้วนำมาประยุกต์เข้ากับปัญหาที่กำลังเเก้ไข เครื่องมือที่ใช้ในการวางเเผนเเก้ปัญหา สำหรับการพัฒนาโปรเเกรม อาจเลือกใช้รหัสลำลอง หรือผังงาน โดยวิธีการเเก้ปัญหาที่ได้เรียกว่า ขั้นตอนวิธีการหรืออัลกอริทึม (algorithm) ซึ่งเป็นลำดับขั้นตอนในการเเก้ปัญหาหรือการทำงานที่ชัดเจนตั้งเเต่เริ่มต้นเเก้ปัญหา จนกระทั่งได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
3การดำเนินการเเก้ปัญหา เป็นการนำกระบวนการที่ได้วางเเผนไว้มาปฏิบัติ หรือพัฒนาโปรเเกรมเพื่อเเก้ปัญหา โยอาจใช้ภาษาโปรเเกรมช่วยในการดำเนินการ
4การตรวจสอบเเละประเมินผล ขั้นตอนนี้จะทำควบคู่ไปกับขั้นตอนการเเก้ปัญหา โดยการตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้ หากผลลัพธ์ที่ได้ไม่ถูกต้อง หรือยังมีส่วนที่ต้องเเก้ไขปรับปรุงอยู่ ต้องย้อนกลับไปทำซ้ำตั้งเเต่ขั้ันตอนเเรกจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ถุกต้อง
การเเก้ปัญหา
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
✅1การถ่ายทอดในเรื่องการเเก้ปัญหาหรือการทำงาน อาจเขียนเป็นข้อความที่เเสดงให้เห็นการเเก้ปัญหาหรือการทำงานเป็นลำดับขั้นตอน
✅2การเเสดงลำดับขั้นตอนในการทำงานหรือการเเก้ปัญหา อาจใช้ภาพ สัญลักษณ์ ข้อความ หรือการบอกเล่า
✅3หากพิจารณาลำดับขั้นตอนการทำงาน สามารถบอกถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นได้
🖉ลองทำดู
เขียนอธิบายขั้นตอนการเดินทางมาโรงเรียนให้เพื่อนเข้าใจเเละสามารถปฏิบัติได้
1เข็นรถออกจากบ้าน
2ปิดประตูบ้าน
3ขึ้นรถ
4เสียบกุญเเจรถ
5บิดกุญเเจรถ
6สตาร์ทรถ
7เข้าเกียร์
8ขับรถ
9ลงรถ
10ล็อครถ
✅1การถ่ายทอดในเรื่องการเเก้ปัญหาหรือการทำงาน อาจเขียนเป็นข้อความที่เเสดงให้เห็นการเเก้ปัญหาหรือการทำงานเป็นลำดับขั้นตอน
✅2การเเสดงลำดับขั้นตอนในการทำงานหรือการเเก้ปัญหา อาจใช้ภาพ สัญลักษณ์ ข้อความ หรือการบอกเล่า
✅3หากพิจารณาลำดับขั้นตอนการทำงาน สามารถบอกถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นได้
🖉ลองทำดู
เขียนอธิบายขั้นตอนการเดินทางมาโรงเรียนให้เพื่อนเข้าใจเเละสามารถปฏิบัติได้
1เข็นรถออกจากบ้าน
2ปิดประตูบ้าน
3ขึ้นรถ
4เสียบกุญเเจรถ
5บิดกุญเเจรถ
6สตาร์ทรถ
7เข้าเกียร์
8ขับรถ
9ลงรถ
10ล็อครถ
วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
เเบบฝึกหัดหน่วยที่3 เรื่องเเนวคิดเชิงนามธรรม ชุดที่2
การถ่ายทอดรายละเอียดของปัญหาเเละการเเก้ปัญหา
การถ่ายทอดรายละเอียดนี้ไปสู่ผู้ที่จะวิเคราะห์เเละเเก้ปัญหา ซึ่งเป็นไปได้หลายรูปเเบบ หากผู้เเก้ปัญหาคือบุคคลอื่น การถ่ายทอดปัญหาสามารถทำได้โดยการอธิบายเป็นข้อความเเละการใช้เเผน ภาพประกอบ หากผู้เเก้ปัญหาคือคอมพิวเตอร์ การถ่ายทอดวิธีการการเเก้ปัญหาก็จะอยู่ในรูปของโปร
เเกรม
กิจกรรมที่1
1เส้นทางจากบ้านโรงเรียนกลับบ้านที่ใช้ระยะทางสั้นทีี่สุด
ตอบ 900 เมตร
2เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่สั้นที่สุดโดยเเวะร้านขายขนม
ตอบ 1300 เมตร
3เส้นมางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่สั้นที่สุดโดยเเวะร้านขายขนมเเละเลือกเดินเฉพาะทางที่มีร่มเงาเท่านั้น
์ ตอบ 2400 เมตร
หน่วยที่3 ความคิดเชิงนามธรรม
เเนวคิดเชิงนามธรรม
ความคิดเชิงนามธรรม(abstract thinking หรือ abstraction) เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเเนวคิดเชิงคำนวน(computational thinking)ซึ่งใช้กระบวนการคัดเเยกคุณลักษณ์ที่สำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อยในปัญหาหรืองานที่กำลังพิจารณาเพื่อให้ได้ข้อมูลที่จำเป็นเเละเพียงพอในการเเก้ปัญหา
กิจกรรมที่1ให้เเยกคุณลักษณะที่จำเป็นของปากกา
1มีน้ำหมึก
2มีด้ามจับ
3มีไส้สีเเดง
4มีไส้สีน้ำเงิน
5มีที่หนีบที่ด้าม
6มีที่กดปากกา
กิจกรรมที่2 มีส้ม5กิโลกรัม มีองุ่น7กิโลกรัม น้ำมันงา2กิโลกรัม ชมพู่4กิโลกรัม
ข้อมูลที่เป็น คือ จำนวนผลไม้เเต่ละชนิด
ข้อมูลที่ไม่จำเป็น คือ น้ำมันงา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)